ทรัพยากรพลังงาน.ppt ม.2

ทรัพยากรธรรมชาติ

 

Powerpoint เรื่องทรัพยากรพลังงาน ม.2

ทรัพยากรพลังงาน

ธรณี

ธรณี

โครงสร้างโลก

กระบวนการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลก

ดินและน้ำ

ภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติบนผิวโลก

 

 

ธรณี 1 โครงสร้างโลก

ธรณี 2 ดินและน้ำ

ธรณี 3 ภัยพิบัติ

งาน พลังงาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย

สรุปเรื่องงาน พลังงาน กำลัง และเครื่องกลอย่างง่าย

วิทยาศาสตร์ ม.2 สสวท.

เนื้อหาของงาน การหางาน การหากำลัง พื้นเอียง รอก คาน เพลา สกรู ลิ่ม การได้เปรียบเชิงกล

การแยกสาร

การแยกสาร วิทยาศาสตร์ ม.2

VDO สรุปเรื่องการแยกสาร

การแยกสาร หมายถึงการแยกสารที่ผสมกันตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปออกจากกัน แบ่งเป็นการแยกสารเนื้อผสม และการแยกสารเนื้อเดียว

สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่มีลักษณะของเนื้อสารไม่ผสมกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เกิดจากสารอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกัน

1. การกรอง
2. การใช้กรวยแยก
3. การใช้อำนาจแม่เหล็ก
4. การระเหิด
5. การใช้มือหยิบออกหรือเขี่ยออก
6. การตกตะกอน
7. การหลอมเหลว
8. การใช้เครื่องหมุนเหวี่ยง

 

VDO ความรู้เรื่องการแยกสาร

วีดิทัศน์ ตอน การระเหยแห้ง เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องวิธีแยกสารที่ใช้แยกสารละลายที่เป็นของเหลวและมีตัวละลายเป็นของแข็ง

หัวเรื่อง และคำสำคัญการแยกสาร, การระเหย, การระเหยแห้ง, ความร้อน, สารละลาย, ตัวละลาย, ตัวทำละลาย, สารผสม, seperation of a mixture, evaporation, dry evaporation, heat, solution, solute, solvent, mixture
ประเภทMoving Image
ลิขสิทธิ์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

 

วีดิทัศน์ ตอน การตกผลึก เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องวิธีแยกสารที่ใช้แยกสารละลายที่เป็นของเหลวและมีตัวละลายเป็นของแข็ง

หัวเรื่อง และคำสำคัญการแยกสาร, การตกผลึก, ผลึก, ตะกอน, สารละลาย, ตัวละลาย, ตัวทำละลาย, สารผสม, purification, recrystalization, crystal, precipitate, solution, solute, solvent, mixture
ประเภทMoving Image
ลิขสิทธิ์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

วีดิทัศน์ ตอน การกลั่นอย่างง่าย เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องวิธีการแยกสารละลายที่เป็นของเหลว ซึ่งมีตัวทำละลายและตัวละลายที่มีจุดเดือดต่างกันมาก

หัวเรื่อง และคำสำคัญการแยกสาร, การกลั่น, การกลั่นอย่างง่าย, ความร้อน, ระเหย, สารบริสุทธิ์, จุดเดือด, สารละลาย, ตัวละลาย, ตัวทำละลาย, สารผสม, purification, seperation of a mixture, distillation, simple distillation, heat, evaporate, pure substance, boiling point, solution, solute, solvent, mixture
ลิขสิทธิ์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

วีดิทัศน์ ตอน โครมาโทรกราฟีแบบกระดาษ เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องวิธีการแยกสารที่เคลื่อนที่บนกระดาษด้วยอัตราเร็วต่างกัน เนื่องจากมีความสามารถในการละลายต่างกัน

หัวเรื่อง และคำสำคัญโครมาโทรกราฟีแบบกระดาษ, การแยกสาร, การละลาย, สารผสม, ตัวทำละลาย, paper chromatography, seperation of a mixture, dissolving, mixture, solvent
ประเภทMoving Image
ลิขสิทธิ์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

วีดิทัศน์ ตอน การสกัดด้วยตัวทำละลาย เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องวิธีการแยกสารที่ละลายในตัวทำละลายได้ต่างกัน

หัวเรื่อง และคำสำคัญการสกัด, ตัวทำละลาย, การแยกสาร, สารละลาย, extraction, solvent, seperation of a mixture, solution
ประเภทMoving Image
ลิขสิทธิ์สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

แยกสารละเหยแห้งและตกผลึก
https://youtu.be/8_j6I6p6EIM

แยกสารด้วยการกลั่น
https://youtu.be/-o5lsev0eRM

แยกสารโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
https://youtu.be/EElJ_MbnBO0

แยกสารด้วยวิธีการสกัดด้วยตัวทำละลาย
https://youtu.be/VyvvjKZSLvU

 

การแยกสาร

องค์ความรู้ที่ได้จากการไปทัศนศึกษาดรีมเวิลด์ 2566

องค์ความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และวิชาอื่นๆที่ได้จากการไปทัศนศึกษาสวนสนุกดรีมเวิลด์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จัดทำโดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

https://youtu.be/GUm8SqZGuu8

 


https://www.youtube.com/watch?v=c-MhPyD06Jg


https://youtu.be/zvBNj-I9NZ0

 

พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ และสมดุลพลังงานกล

สรุปเรื่องพลังงานศักย์ พลังงานจลน์ และสมดุลพลังงานกล

วิทยาศาสตร์ ม.2

พลังงานศักย์ พลังงานจลน์

พลังงานทำให้เกิดงาน เช่น รถยนต์เคลื่อนที่ไปได้เกิดจากมีการเผาไหม้เชื้อเพลิงในกระบอกสูบ ทำให้เกิดแรงดันลูกสูบให้เคลื่อนที่
เกิดงานที่ลูกสูบถ่ายโอนไปทำให้เพลาหมุน ในทางกลับกัน งานก็ทำให้เกิดพลังงานได้ เช่น การลำเลียงน้ำไปเก็บไว้บนที่สูงของการ
ประปาเกิดจากการทำงานของเครื่องสูบน้ำ ทำให้น้ำมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงแล้วปล่อยลงมาเพื่อให้มีแรงส่ง ไปได้ไกล ๆ

พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นพลังงานของวัตถุที่อยู่
ภายใต้สนามโน้มถ่วง เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยในระบบ SI ว่า จูล (J)

พลังงานศักย์โน้มถ่วงและปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานศักย์โน้มถ่วง
1. พลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นพลังงานของวัตถุที่อยู่ภายใต้สนามโน้มถ่วง ซึ่งจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับมวลและ
ระดับความสูงของวัตถุจากระดับอ้างอิง
2. วัตถุที่มีมวลแตกต่างกันแต่อยู่สูงจากระดับอ้างอิงเท่ากัน วัตถุที่มีมวลมากกว่าจะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงมากกว่า
วัตถุที่มีมวลน้อย
3. วัตถุที่มีมวลเท่ากันแต่อยู่สูงจากระดับอ้างอิงแตกต่างกัน วัตถุที่อยู่สูงจากระดับอ้างอิงมากกว่าจะมีพลังงานศักย์
โน้มถ่วงมากกว่าวัตถุที่อยู่สูงจากระดับอ้างอิงน้อย

พลังงานจลน์
พลังงานจลน์ของรถทดลองมีค่ามากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับมวลและอัตราเร็วของรถทดลอง

พลังงานจลน์และปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์
1. พลังงานจลน์เป็นพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ ซึ่งจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับมวลและอัตราเร็วของวัตถุ
2. วัตถุที่มีมวลแตกต่างกันแต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากัน วัตถุที่มีมวลมากกว่าจะมีพลังงานจลน์มาก
3. วัตถุที่มีมวลเท่ากันแต่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วต่างกัน วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วมากกว่าจะมีพลังงานจลน์มาก

พลังงานกล

ทบทวนเรื่องงานและเครื่องกลอย่างง่าย

ทบทวนเรื่องงานและเครื่องกลอย่างง่าย วิทย์ ม.2 เทอม 2

 

ทบทวนเรื่องแรง งาน กำลัง พื้นเอียง รอก ล้อและเพลา สกรู และลิ่ม